แผนปฏิบัติการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2558-2559

ยุทธศาสตร์ที่ 1 บูรณาการคุณค่าและการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพโดยการมีส่วนร่วมในทุกระดับ

1.2 แผนปฏิบัติการบูรณาการและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ
ตัวชี้วัด

1 มีคณะกรรมการความหลากหลายทางชีวภาพระดับหน่วยงาน สถาบัน และจังหวัดเพิ่มขึ้น ร้อยละ 30

2 มีเครือข่ายความร่วมมือเพิ่มขึ้นระหว่างภาครัฐ ภาคธุรกิจ สถาบันการศึกษา และชุมชนท้องถิ่นในการดำเนินงานด้านอนุรักษ์ ฟื้นฟู และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพ

3 จำนวนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของเครือข่ายในการดำเนินงานด้านอนุรักษ์ ฟื้นฟู และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพ

4 มีแนวทางในการลดและขจัดแรงจูงใจที่มีผลร้ายต่อความหลากหลายทางชีวภาพ และส่งเสริมแรงจูงใจทางบวกที่สนับสนุนการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืนในภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง


แนวทางปฏิบัติ แผนงาน/โครงการ ผลการดำเนินงาน
1.2.1.1 พัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพของกลไกในการประสานการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพในระดับต่างๆ ในรูปแบบของคณะกรรมการหรือคณะทำงานจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง 1. จัดตั้งคณะกรรมการความหลากหลายทางชีวภาพระดับหน่วยงาน สถาบัน และจังหวัด เพื่อประสานการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพในระดับหน่วยงานและจังหวัด 1. แต่งตั้งคณะกรรมการความหลากหลายทางชีวภาพด้านปศุสัตว์ และคณะกรรมการ/คณะทำงานความหลากหลายทางชีวภาพระดับหน่วยงาน (สำนัก/กอง)
2. พัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพของกลไกการประสานและเชื่อมโยงการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพในระดับชาติ หน่วยงาน และจังหวัด
1.2.1.2 จัดตั้งและเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายความร่วมมือเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงาน อนุรักษ์ ฟื้นฟู และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน 1. สนับสนุนการจัดตั้งองค์กรเครือข่ายการบริหารจัดการพื้นที่อนุรักษ์และถิ่นที่อยู่อาศัยในระดับท้องถิ่น 1. การจัดทำร่างนโยบายและแผนการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินของประเทศ พ.ศ.2560-2579
2. อนุรักษ์พันธุ์สัตว์พื้นเมือง ดำเนินการอนุรักษ์พันธุ์สัตว์พื้นเมือง 40 พันธุ์
2. สร้างความเข้มแข็งและองค์ความรู้ในการจัดการป่าชุมชนให้แก่ท้องถิ่น
3. สนับสนุนชุมชนผู้สูงอายุเอื้ออาทรความหลากหลายทางชีวภาพ
4. สร้างเครือข่ายการอนุรักษ์พืชรวมถึงเพิ่มสมรรถนะและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่าย
5. จัดให้มีเวทีกิจกรรมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานพัฒนาและหน่วยอนุรักษ์ 1. กิจกรรมปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำจืดเนื่องในวันชาติ สปป. ลาว
2. การฝึกอบรมทางด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรพันธุกรรมสัตว์ โดยมีบุคลากรเข้าร่วมการประชุม 1 ครั้ง
3. ร่วมประชุม Session of the Intergovernmental Technical Working Group on Animal Genetic Resources เข้าร่วมการประชุม 1 ครั้ง
4. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการพืชแห่งอนุสัญญาไซเตส (Plant Committee) เพื่อกำหนด กฎ ระเบียบ ในการควบคุมการค้าสำหรับชนิดพืชที่ใกล้จะสูญพันธุ์ (สคพ.)
5. เข้าร่วมประชุมเรื่องป่าชุมชนกลุ่ม CLMTV
6. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มสมรรถนะชุมชนเมือง และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดทำแผนชุมชนด้านความหลากหลายทางชีวภาพ 1. การจัดอบรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะ เตรียมความพร้อมเจ้าหน้าที่ ในการเข้าร่วมประชุมระดับนานาชาติด้านความหลากหลายทางชีวภาพ
1.2.1.3 เสริมสร้างประสิทธิภาพและสมรรถนะในการบังคับใช้กฎหมาย ข้อบังคับ มาตรการ และกลไกที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ ฟื้นฟู คุ้มครอง และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน 1. ศึกษาวิเคราะห์เพื่อจัดทำกฎหมายด้านความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อคุ้มครองชนิดพันธุ์และถิ่นที่อยู่อาศัย และกำกับดูแลการใช้ประโยชน์ทรัพยากรพันธุกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง 1. โครงการ Biodiversity Finance Initiative (BIOFIN) ในประเทศไทย โดยได้จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ด้านความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ำ และระบบนิเวศทะเลและชายฝั่ง ด้านการทบทวนค่าใช้จ่าย ด้านความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย ปัจจุบันอยู่ระหว่างดำเนินการศึกษาวิจัยระบบนิเวศในเมือง
2. จัดอบรมเพิ่มประสิทธิภาพ และสมรรถนะให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการบังคับใช้กฎหมาย ข้อบังคับ มาตรการ และกลไกที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ ฟื้นฟู คุ้มครอง และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน 1. กิจกรรมพัฒนาวนศาสตร์ชุมชน (งานศึกษาชนิดพันธุ์ไม้, งานศึกษา ภูมิปัญญาท้องถิ่น)
2. จัดทำ (ร่าง) พรบ. ส่งเสริมและอนุรักษ์พันธุ์สัตว์พื้นเมือง
3. การฝึกอบรมทางด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรพันธุกรรมสัตว์ โดยมีบุคลากรเข้าร่วมการประชุม 1 ครั้ง
1.2.1.4 ส่งเสริมและสร้างมาตรการ จูงใจในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน รวมทั้ง ลดและขจัดแรงจูงใจที่ก่อให้เกิดผลกระทบในทางลบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ ในทุกระดับ 1. ศึกษาวิเคราะห์เพื่อกำหนดแนวทางในการลดและขจัดแรงจูงใจที่มีผลร้ายต่อความหลากหลายทางชีวภาพและส่งเสริมมาตรการจูงใจทางบวกที่สนับสนุนการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน
2. ส่งเสริมและสนับสนุนการปฏิบัติตามหลักการการจ่ายคืนสำหรับบริการจากระบบนิเวศ (Payment for Ecosystem Services)
3. ศึกษาและพัฒนาการให้คุณค่าของระบบความสัมพันธ์ระหว่างภูมิปัญญาท้องถิ่นกับความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศต่างๆ เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจในการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน
1.2.1.5 พัฒนากลไกทางการเงินและกลยุทธ์ในการระดมทุน เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศ 1. วิเคราะห์และประเมินความต้องการงบประมาณสนับสนุนการอนุวัตตามประเด็นอุบัติใหม่ของอนุสัญญาฯ โปรแกรมงาน และประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหลายเรื่อง 1. วิเคราะห์และประเมินความต้องการงบประมาณสนับสนุนการอนุวัตอนุสัญญาฯ จัดทำรายงานการเงินของประเทศไทย (BIOFIN)
2. ตั้งกองทุนเพื่อการศึกษาวิจัยด้านอนุกรมวิธาน อาทิ กองทุนเพื่ออนุกรมวิธานไลเคน เป็นต้น
3. สนับสนุนทุนวิจัยตามแนวทางการวิจัยด้านความหลากหลายทางชีวภาพที่ตอบสนองต่อแผนกลยุทธ์ ความหลากหลายทางชีวภาพ ปี ค.ศ. 2011-2020 และเป้าหมายไอจิ ตามนโยบายและแผนยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ
4. ประเมินความต้องการทางการเงินและการจัดทำกลยุทธ์การระดมทุนและขับเคลื่อนทรัพยากรด้านการ อนุวัติตามพันธกรณีภายใต้ข้อตกลงอาเซียน
5. ทบทวนกฎระเบียบแนวทางและกลไกการสนับสนุนเงินกองทุนสิ่งแวดล้อมต่อโครงการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพของชุมชน 1. ประชุม The Ninth Meeting of Partners (MOP 9) of the East Asian –Australasian Flyway Partnership (EAAFP) ดำเนินงาน การบริหารค่าใช้จ่าย การกระมานความร่วมมือระหว่างสมาชิกหรือเรื่องที่สมาชิกต้องการหารือ รวมถึงข้อกฎหมายแนะระเบียบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานในแต่ละประเทศ ที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์นกน้ำอพยพและ ถิ่นที่อยู่อาศัยในเส้นทางอพยพเอเชียตะวันออก-ออสเตรเลีย และนำเสนอผลการดำเนินงานในช่วงที่ผ่านมาจากคณะทำงานที่ได้รับการสนับสนุน จากองค์กร
6. จัดทำ dialogue ระหว่างผู้เกี่ยวข้องกับการสนับสนุนงบประมาณ เช่น ผู้บริหารระดับสูง สำนักงบประมาณ นักการเมือง เพื่อให้มีความเข้าใจและสนับสนุนการจัดสรรงบประมาณดำเนินงานด้านความหลากหลายทางชีวภาพ
7. สำรวจจัดทำทะเบียนแหล่งเงินทุน และประเมินความคุ้มทุนของกิจกรรมอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพในทศวรรษที่ผ่านมา
1.2.1.6 เสริมสร้างสมรรถนะของภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการอนุวัติการตามพันธกรณีของอนุสัญญา พิธีสาร และความตกลงที่เกี่ยวกับปกป้องคุ้มครอง อนุรักษ์ ฟื้นฟู และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน 1. สรุปบทเรียนเฉพาะเรื่องในการอนุวัติอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ
2. เสริมสร้างสมรรถนะนักเจรจาต่อรองเพื่อสนับสนุนการเข้าร่วมประชุมเจรจาระหว่างประเทศด้านความหลากหลายทางชีวภาพ
3. เตรียมความพร้อม ความเห็น ท่าที ให้แก่ผู้แทนประเทศไทยเข้าร่วมเจรจาต่อรองในการประชุมภายใต้อนุสัญญาและความตกลงที่เกี่ยวข้อง
4. ดำเนินความร่วมมือกับความตกลง/ความริเริ่มระหว่างประเทศต่างๆ และการสร้างเครือข่ายแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับความหลากหลายทางชีวภาพ : คณะทำงานแห่งอาเซียนว่าด้วยการอนุรักษ์ธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ (AWGNCB) ศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพแห่งอาเซียน (ACB) คณะกรรมาธิการลุ่มน้ำโขง (Mekong River Commission) และอื่นๆ 1. ดำเนินความร่วมมือกับความตกลง/ความริเริ่มระหว่างประเทศต่างๆ และการสร้างเครือข่ายแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับความหลากหลาย ทางชีวภาพ : คณะทำงานแห่งอาเซียนว่าด้วยการอนุรักษ์ธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ (AWGNCB) ศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพแห่งอาเซียน (ACB) คณะกรรมาธิการลุ่มน้ำโขง (Mekong River Commission) และอื่นๆ
5. สนับสนุนผู้แทนประเทศไทยเข้าร่วมประชุมคณะทำงานวิชาการ (ATHEG,WG) คณะที่ปรึกษาทางวิทยาศาสตร์ วิชาการและเทคโนโลยี (SBSTTA) สมัชชาภาคีอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (COP) สมัชชาภาคีพิธีสารคาร์ตาเฮนา (COP-MOP) สมัชชาภาคีอนุสัญญาว่าด้วยพื้นที่ชุ่มน้ำ และโครงการพันธมิตรสำหรับการอนุรักษ์นกอพยพ รวมถึงพันธกรณีที่เกี่ยวข้อง 1. เข้าร่วมประชุมสมัชชาภาคีอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพสมัยที่ 13 ระหว่างวันที่ 4-18 ธันวาคม 2559 ณ ประเทศสหรัฐเม็กซิโก
2. เข้าร่วมประชุมสมัชชาภาคีอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ สมัชชาภาคีพิธีสารนาโงย่า (สทช., สคพ.)
3. สนับสนุนผู้แทนประเทศไทยเข้าร่วมประชุมสมัชชาภาคีอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (สทช., สคพ.)
6. เสริมสร้างสมรรถนะการดำเนินงานตามพันธกรณีของพิธีสารคาร์ตาเฮนาว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภาพ
1.2.1.7 พัฒนากลไกในการเชื่อมโยงการดำเนินงานตามอนุสัญญาและความตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับความหลากหลายทางชีวภาพ ให้มีการดำเนินงานที่สอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 1. หารือเพื่อหาแนวทางดำเนินงานร่วมกันเชิงพื้นที่หรือประเด็นเดียวกันระหว่างหน่วยประสานงานกลางของอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพและอนุสัญญาไซเตส (CITES)
2. จัดทำแผนปฏิบัติการร่วมระหว่างอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ อนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและอนุสัญญาว่าด้วยการแปรสภาพเป็นทะเลทราย 1. จัดประชุมเพื่อยกร่างแนวทางความร่วมมือระหว่างอนุสัญญาว่าด้วย ความหลากหลายทางชีวภาพ อนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศและอนุสัญญาว่าด้วยการแปรสภาพเป็นทะเลทราย และอนุสัญญาที่เกี่ยวข้องกับความหลากหลายทางชีวภาพ โดยการสนับสนุนจาก UNEP และ IUCN
1.2.1.8 ติดตามประเมินผลการดำเนินงานบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพให้สอดคล้องกับเป้าหมายไอจิ 1. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนกลยุทธ์ความหลากหลายทางชีวภาพ ปี ค.ศ. 2011-2020 และเป้าหมายไอจิ
แนวทางปฏิบัติ แผนงาน/โครงการ ผลการดำเนินงาน
1.2.2.1 สอดแทรกประเด็นและการตระหนักเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพเข้าสู่นโยบายและแผนระดับชาติระดับจังหวัด ท้องถิ่น ชุมชน และภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เช่น ภาคเอกชน องค์กรทางธุรกิจ เป็นต้น โดยอาจอยู่ในรูปแบบของความริเริ่มที่เกี่ยวข้องกับการปกป้องคุ้มครอง อนุรักษ์ ฟื้นฟู และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพ 1. ผลักดันเรื่องการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืนเข้าสู่นโยบาย/แผน และมาตรการทั้งในระดับประเทศ จังหวัด ท้องถิ่น และชุมชน รวมถึงในภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม และพลังงาน 1. สร้างเครือข่ายการตอบแทนคุณระบบนิเวศตามหลักการ PES ปี 2559
2. สร้างเครือข่ายอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพ (ป่าครอบครัว + ปลูกรักษ์)
3. ส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนองพระราชดำริจัดทำฐานทรัพยากรท้องถิ่น และส่งเสริมโรงเรียนสมัครสมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
4. โครงการวันพื้นที่ชุ่มน้ำโลก ครั้งที่ 6 (อบต.เกิ้ง อ.เมือง จ.มหาสารคาม)
2. จัดการหารือเพื่อผสานประเด็นเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพเข้าสู่นโยบายและแผนของหน่วยงานภาครัฐ และภาคธุรกิจ ตลอดจนภาคอุตสาหกรรม 1. ประชุมรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับเครื่องมือ กลไกที่เหมาะสมกับการดำเนินการด้านความปลอดภัยทางชีวภาพที่สอดคล้องกับพิธีสานคาร์ตาเฮน่าว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภาพ
3. ส่งเสริมให้ท้องถิ่นบูรณาการคุณค่าความหลากหลายทางชีวภาพและมูลค่าการให้บริการของระบบนิเวศเข้าสู่แผนพัฒนาระดับจังหวัดและท้องถิ่น 1. โครงการสร้างความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศของโลก
2. ส่งบุคลากรร่วมเป็นคณะกรรมการควบคุมและป้องกันทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัดนครศรีธรรมราช
3. กิจกรรมภาคีเครือข่ายร่วมดำเนินการสร้างฝายมีชีวิต
4. ศึกษาและจัดทำแนวทางการผสานประเด็นและความตระหนักในเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพเข้าสู่นโยบายและแผนในภาคส่วนและระดับต่างๆ รวมถึงการถ่ายทอดสู่แผนในระดับจังหวัด ท้องถิ่น และชุมชน 1. ผนวกประเด็นความหลากหลายทางชีวภาพในแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2560-2564 และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564
2. ผนวกประเด็นความหลากหลายทางชีวภาพในยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 20 ปี พ.ศ. 2560-2579
3. การจัดทำแผนบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด
4. โครงการเสริมสร้างพลังชุมชนเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าใหญ่โคกจิก-ตาลอก อ.พยัฆภูมิพิสัย จ.มหาสารคาม (อบต.เม็กดำ อ.พยัฆภูมิพิสัย)
1.2.2.2 พัฒนากลไกในการเชื่อมโยงองค์ความรู้และวิทยาการด้านต่างๆ รวมถึง มาตรการทางเศรษฐศาสตร์และสังคม เข้าสู่การกำหนดทิศทาง นโยบาย มาตรการ และแผนด้านความหลากหลาย ทางชีวภาพ 1. ศึกษา ประเมินมูลค่าการให้บริการของระบบนิเวศ ชนิดพันธุ์ สายพันธุ์ที่สำคัญ และสายพันธุ์พื้นเมืองในเชิงเศรษฐศาสตร์เพื่อการบูรณาการไว้ในแผนระดับต่างๆ บัญชีประชาชาติ และระบบการรายงานแห่งชาติ 1. การเชื่อมโยงกรอบแนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อม ภายใต้ข้อตกลงที่เกี่ยวข้อง ในแผนยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภาคเหนือ 2556-2559 โดยยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องได้แก่ ยุทธศาสตร์การพัฒนา คน ชุมชน สังคมในการจัดการสิ่งแวดล้อม โดยกำหนดให้มีการสนับสนุน การจัดกิจกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การสร้างจิตสำนึก การบูรณาการ เรื่องสิ่งแวดล้อมท้องถิ่นในหลักสูตรของสถานศึกษา
2. ศึกษาประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของพื้นที่ที่มีความสำคัญทางความหลากหลายทางชีวภาพซึ่งมีศักยภาพสูงด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทย
3. ศึกษาและพัฒนาแนวทางในการประยุกต์ใช้มาตรการทางเศรษฐศาสตร์ในการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ
4. ศึกษาจัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินงานด้านความหลากหลายทางชีวภาพของแผนระดับต่างๆ รวมทั้ง กลไกการสนับสนุนจากภาครัฐในการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ 1. แผนยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และ ภาคตะวันตก
5. สำรวจทัศนคติเกี่ยวกับคุณค่าของความหลากหลายทางชีวภาพในระดับนโยบาย เพื่อประเมินสถานการณ์ความตระหนักในความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ 1. สำรวจทัศนคติเกี่ยวกับคุณค่าของความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อประเมินสถานการณ์ความตระหนักในความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ
2. สร้างเครือข่ายอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพและเกษตรพื้นถิ่น คุ้งบางกระเจ้า ปี 2559
แนวทางปฏิบัติ แผนงาน/โครงการ ผลการดำเนินงาน
1.2.3.1 จัดทำฐานข้อมูลภาคธุรกิจที่ดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับความหลากหลายทางชีวภาพ ใช้ความหลากหลายทางชีวภาพเป็นต้นทุนการผลิต และให้การสนับสนุนในการปกป้องคุ้มครอง อนุรักษ์ ฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ 1. ปรับปรุงทะเบียนรายชื่อภาคธุรกิจที่มีการสนับสนุน หรือดำเนินโครงการ/กิจกรรมด้านการอนุรักษ์ ฟื้นฟูและใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน 1. โครงการคุ้มครองและใช้ประโยชน์จากสมุนไพรและถิ่นกำเนินปี 2558
2. อบรมบริการวิชาการแก่บุคคลทั่วไป “ค่ายอาสาสื่อสารเกษตร ปลอดสารเคมี จังหวัดชัยนาท ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”
3. ร่วมกับหน่วยงานทั้งภาครัฐ สถาบันการศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคประชาชน ในการอนุรักษ์ฟื้นฟู ปลูกป่า สร้างความสมดุลระบบนิเวศ
2. พัฒนาและปรับปรุงฐานข้อมูลภาคธุรกิจที่ดำเนินกิจกรรมใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับความหลากหลายทางชีวภาพ 1. พัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมในการจัดการป่าชุมชน
2. ศึกษาลักษณะเศรษฐกิจ สังคม และประเมินการยอมรับของชุมชน ในพื้นที่แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศระหว่างเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่เลา-แม่แสะ และอช.ห้วยน้ำดัง ในกลุ่มป่าลุ่มน้ำปาย-สาละวิน ชุมชนร้อยละ 91.7 ยอมรับการจัดทำแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศฯ โดยเจ้าหน้าที่ต้องกำหนดแนวเขต ที่ชัดเจน
3. ภารกิจช่วยความหลากหลายทางชีวภาพโดยทางอ้อมด้วยการป้องกันการปล่อยน้ำทิ้งชุมชนอุตสาหกรรม เพื่อรักษาลุ่มน้ำ
3. รวบรวมและจัดทำทะเบียนข้อมูลภาคธุรกิจที่มีการใช้ความหลากหลายทางชีวภาพเป็นต้นทุนในการผลิต 1. การสำรวจและเก็บรวบรวมทรัพยากรธรรมชาติและภูมิปัญญา
1.2.3.2 แสวงหาความร่วมมือและสร้างเครือข่ายพันธมิตรร่วมอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน 1. จัดประชุมหารือระดมความคิดเห็นร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐ และภาคธุรกิจเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ผลสัมฤทธิ์และอุปสรรคของการดำเนินงานที่ทำไปแล้ว 1. กระบวนการผลิตข้าวเพื่อลดต้นทุน
2. อบรมเชิงปฏิบัติการการปลูกพืชไร้ดิน และพืชในกระถาง
3. อบรมเชิงปฏิบัติการการทำแชมพู และน้ำยาล้างจานจากสารธรรมชาติ
2. ส่งเสริมการอนุรักษ์แหล่งความหลากหลายทางชีวภาพ (คุ้งบางกระเจ้า ต้นแบบการมีส่วนร่วม) 1. ร่วมกิจกรรมเนื่องในวันสิ่งแวดล้อมไทย และวัน ทสม.
2. โครงการคลองสดใส จันทรเกษมร่วมใจ รวมน้ำใจชุมชน
3. กิจกรรมร่วมกันสร้างธรรมนูญคลอง
3. สร้างความร่วมมือและเครือข่ายอนุรักษ์และใช้ประโยชน์สัตว์พื้นเมืองอย่างยั่งยืนร่วมกับภาคเอกชน 1. โครงการปล่อยนกกระเรียนพันธุ์ไทยกลับคืนสู่ธรรมชาติและเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่นในการอนุรักษ์สัตว์ป่า ได้ดำเนินการปล่อยนกกระเรียนพันธุ์ไทยจำนวน 12 ตัว ในพื้นที่ชุ่มน้ำห้วยจระเข้มาก จ.บุรีรัมย์ โดยประชาชนในพื้นที่ให้ความร่วมมือในการดูแลนกชนิดนี้
2. ให้ภาคธุรกิจร่วมโครงการ CDM ลดก๊าซเรือนกระจก
3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน กลุ่มองค์กรต่างๆ ในพื้นที่
4. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “บ่มเพาะภูมิปัญญาวิจัยเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางเศรษฐกิจของชุมชนภาคเหนือ”
1.2.3.3 สนับสนุนให้ภาคธุรกิจจัดทำแผนธุรกิจและกองทุนที่สนับสนุนการดำเนินงานเพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพ โดยเฉพาะกิจกรรมที่สนับสนุนองค์กรชุมชนหรือท้องถิ่นหรือเครือข่ายภาคประชาชน 1. จัดทำคู่มือ/แนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมสำหรับดำเนินกิจกรรมของทุกภาคธุรกิจในการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน รวมถึงอบรมการดำเนินงานและใช้คู่มือ 1. การให้บริการวิชาการเกษตรผสมผสาน
2. การอบรมการจัดทำระบบน้ำหยดในการปลูกพืช
2. จัดตั้งสมาคม/มูลนิธิ ที่มีเจตนารมณ์เพื่อการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพของภาคประชาชน 1. จัดตั้งศูนย์การใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2. ช่วยผลักดันการจัดตั้งป่าชุมชนรอบผืนป่าตะวันตก
3. ศูนย์ศึกษาเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนสิรินาถราชินี
3. จัดตั้งกองทุนสนับสนุนองค์กรเอกชน/ชุมชนท้องถิ่นในการดำเนินการดำรงรักษาพื้นที่ธรรมชาติ 1. หนุนเสริมวิสาหกิจชุมชนในผืนป่าตะวันตก